กรมทรัพยากรธรณี ค้นพบรอยเท้าไดโนเสาร์กินพืชแห่งใหม่ในไทย อายุกว่า 225 ล้านปี ที่เพชรบูรณ์ อ่านต่อคลิก
กรมทรัพยากรธรณี รายงานว่าสำนักงานทรัพยากรธรณีเขต 1 กรมทรัพยากรธรณี เข้าตรวจสอบการแจ้งพบร่องรอยคล้ายรอยตีนสัตว์ดึกดำบรรพ์ในพื้นที่บ้านดงมะไฟ ตำบลโคกมน อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2566 ที่ผ่านมา
กมลลักษณ์ วงษ์โก นักธรณีวิทยาชำนาญการพิเศษ สำนักงานทรัพยากรธรณีเขต 1 กรมทรัพยากรธรณี อธิบายว่า เนื่องจากช่วงนี้เป็นฤดูแล้งส่งผลให้ปริมาณน้ำลดลง ลานหินขนาดใหญ่จึงปรากฏให้เป็น และแหล่งชากตึกดำบรรพ์ดังกล่าวควรทำการศึกษาในรายละเอียดถึงชนิดของเจ้าของร่องรอ เนื่องจากมีลักษณะคล้ายรอยตีนของไดโนเสาร์กลุ่มซอโรพอด หรือกลุ่มไดโนเสาร์กินพืชคอยาว แต่จากอายุหินและหมวดหินดังกล่าว...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ค้นพบ รอยตีนไดโนเสาร์กินพืชแห่งใหม่ในเพชรบูรณ์ อายุ 225 ล้านปีไทยเคยมีพี่ใหญ่คอยาว อาศัยอยู่! กรมทรัพยากรธรณีค้นพบ รอยตีนไดโนเสาร์กินพืชแห่งใหม่ในไทย อยู่ที่น้ำตกตาดใหญ่ จ.เพชรบูรณ์ คาดมีอายุกว่า 225 ล้านปี รอยตีนไดโนเสาร์ ไดโนเสาร์ในไทย รอยเท้าไดโนเสาร์ KeepTheWorld SPRiNG
อ่านเพิ่มเติม »
แก๊งช้างป่าเขาใหญ่! 'งาบิ่น-เบี่ยงเล็ก-ขี้ดื้อ' พังรั้วชาวบ้าน บุกสวนกินผลไม้7 พฤษภาคม 2566 เมื่อคืนที่ผ่านมา ช้างป่าจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ 3 ตัว นำโดยพี่งาบิ่น อายุกว่า 30 ปี และช้างป่าอีก 2 ตัว เจ้าเบี่ยงเล็กและเจ้าขี้ดื้อ เข้าพังรั้ว ของชาวบ้าน หลังจากนั้นเข้ากัดกิน พืชสวนของชาวบ้าน สวนของชาวบ้าน ต้นมะพร้าว และผลไม้ ชนิดอื่นๆ และหมากประดับที่ชาวบ้านปลูกไว้ กลุ่มอนุรักษ์สัตว์ป่า บ้านสันกำแพง เข้าทำการ ไล่ผลักดัน นานหลายชั่วโมง
อ่านเพิ่มเติม »
ค้นพบ รอยตีนไดโนเสาร์กินพืชแห่งใหม่ในเพชรบูรณ์ อายุ 225 ล้านปีไทยเคยมีพี่ใหญ่คอยาว อาศัยอยู่! กรมทรัพยากรธรณีค้นพบ รอยตีนไดโนเสาร์กินพืชแห่งใหม่ในไทย อยู่ที่น้ำตกตาดใหญ่ จ.เพชรบูรณ์ คาดมีอายุกว่า 225 ล้านปี รอยตีนไดโนเสาร์ ไดโนเสาร์ในไทย รอยเท้าไดโนเสาร์ KeepTheWorld SPRiNG
อ่านเพิ่มเติม »
พบรอยตีนไดโนเสาร์กินพืชอายุ 225 ล้านปีกรมทรัพยากรธรณี พบรอยตีนไดโนเสาร์กินพืชแห่งใหม่ในไทย อายุกว่า 225 ล้านปีที่ อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ วันนี้ (6 พ.ค.2566) สำนักงานทรัพยากรธรณีเขต 1 กรมทรัพยากรธรณี เข้าตรวจสอบการแจ้งพบร่องรอยคล้ายรอยตีนสัตว์ดึกดำบรรพ์ในพื้นที่บ้านดงมะไฟ ต.โคกมน อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 22 เม.ย.2566 ที่ผ่านมาจากผลการตรวจสอบพื้นที่พบลานหินขนาดใหญ่ประมาณ 10 เมตร กว้าง 3 เมตร กลางลำห้วยด้านล่างของน้ำตกตาดใหญ่ พบร่องรอยแนวทางเดินประมาณ 2 แนวทางเดิน แสดงลักษณะของการย่างก้าวอย่างชัดเจน ระยะห่างช่วงก้าวมีขนาดใกล้เคียงกันทุกช่วงก้าว และขนาดของรอยตีนมีความยาวเฉลี่ยใกล้เคียงกันทุกรอย อยู่ในหมวดหินห้วยหินลาด กลุ่มหินโคราช ช่วงไทรแอสสิกตอนปลาย อายุคาร์เนียน - นอเรียน หรืออายุประมาณ 225 ล้านปีและจากการสอบถามไปยังผู้เชี่ยวชาญด้านรอยตีนดึกดำบรรพ์ จาก Esperaza Dinosaur Museum ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่ง Dr. Jean Le Loeuff ยืนยันว่า เป็นร่องรอยตีนของสัตว์ดึกดำบรรพ์ น.ส.กมลลักษณ์ วงษ์โก นักธรณีวิทยาชำนาญการพิเศษ สำนักงานทรัพยากรธรณีเขต 1 กรมทรัพยากรธรณี อธิบายว่า เนื่องจากช่วงนี้เป็นฤดูแล้งส่งผลให้ปริมาณน้ำลดลง ลานหินขนาดใหญ่จึงปรากฏให้เป็น และแหล่งชากดึกดำบรรพ์ดังกล่าวควรทำการศึกษาในรายละเอียดถึงชนิดของเจ้าของร่องรอย เนื่องจากมีลักษณะคล้ายรอยตีนของไดโนเสาร์กลุ่มซอโรพอด (sauropod) หรือกลุ่มไดโนเสาร์กินพืชคอยาว แต่จากอายุหินและหมวดหินดังกล่าว ยังไม่เคยมีรายงานการค้นพบไดโนเสาร์มาก่อนหากทำการศึกษาและได้คำตอบที่แน่ชัดแล้ว จะถือเป็นข้อมูลการค้นพบที่สำคัญด้านบรรพชีวินวิทยาและวิวัฒนาการของสัตว์ดึกดำบรรพ์ของประเทศไทยและของโลก ซึ่งจะทำให้แหล่งดังกล่าวมีมูลค่าทางการศึกษาด้านบรรพชีวินวิทยาขอ จ.เพชรบูรณ์ยิ่งขึ้น สำหรับพื้นที่ อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ ยังเคยค้นพบซากดึกดำบรรพ์กระดูกของไดโนเสาร์กลุ่มโปรซอโรพอด (Prosauropod) จำพวกคอยาว ขาหน้าสั้น และยังมีแหล่งซากดึกดำบรรพ์ผารอยตีนอาร์โคซอร์ สัตว์เลื้อยคลานคล้ายจระเข้ขนาดใหญ่ที่เป็นบรรพบุรุษไดโนเสาร์ อายุเก่าแก่มากกว่า 200 ล้านปีอีกด้วยสำหรับซากดึกดำบรรพ์ ประเภทรอยชีวิน (Ichnos) อย่างรอยตีน เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา 'พฤติกรรม' ของสิ่งมีชีวิตที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ทั้งยังอธิบายพฤติกรรมส่วนตัว เช่น จังหวะก้าวเดิน ระยะห่างความเร็ว ลักษณะการเดินจากรอยลากหรือยกหาง และยังสามา
อ่านเพิ่มเติม »
จีน พบซากฟอสซิล สัตว์ขาปล้อง อายุ 420 ล้านปี เก่าแก่สุดที่เคยพบในประเทศจีน พบซากฟอสซิล สัตว์ขาปล้อง อายุ 420 ล้านปี เก่าแก่สุด …
อ่านเพิ่มเติม »
เป็นเหี้ยอะไร? รวมชนิดของน้องเหี้ยที่พบในไทย ควรรู้ไว้จำแนกประเภทเหี้ย มีศัพทมูลวิทยาโดยใช้คำว่า Varanidae หรือ Varanus โดยน้องเป็น สัตว์เลื้อยคลานที่มีวิวัฒนาการของตัวเองมาแล้วนานกว่า 300 ล้านปี
อ่านเพิ่มเติม »