กรมทางหลวง นำกรณีอุบัติเหตุ สูญเสียชีวิตของบุคลากรทางการแพทย์ ขณะเดินข้ามถนนในกรุงเทพฯ ทำโครงการนำร่อง ยกระดับความปลอดภัยทางคนเดินข้าม ศรีสะเกษ
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากข่าวการสูญเสียชีวิตของบุคลากรทางการแพทย์ ขณะเดินข้ามถนนในกรุงเทพฯ เป็นเรื่องที่ผู้เกี่ยวข้องจากทุกหน่วยงาน ร่วมกันหาทางป้องกัน และแก้ไขปัญหา ซึ่งสาเหตุหลักของกรณีนี้ คือ “ความเร็วของรถ ที่เข้าสู่ทางคนเดินข้าม” และ "การรับรู้ของผู้ขับขี่ล่วงหน้า ว่าจะมีทางข้ามถนน" กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ได้นำแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ที่ใช้กันในระดับสากล มาทดลองใช้กับทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร...
• เส้นซิกแซก ซึ่งปรากฎเป็นข่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตือนผู้ขับขี่ล่วงหน้า ด้วยสีที่ตีเส้นบนผิวทางให้ “ตระหนัก” และ “ลดความเร็ว” ลงก่อนถึงทางคนเดินข้ามซึ่งเป็นรูปแบบที่ใช้กันในระดับสากล เช่น กลุ่มประเทศในยุโรป สหราชอาณาจักร สิงคโปร์ ออสเตรเลีย เป็นต้น• ชุดป้ายทางข้าม ชนิดสีเหลืองเขียวฟลูออเรสเซนต์ ที่เพิ่มความปลอดภัยให้กับคนเดินข้าม ซึ่งใช้กันแพร่หลายในต่างประเทศกรมทางหลวง ได้ทำเป็นโครงการนำร่องที่แรกบนทางหลวงหมายเลข 2127 ตอนศิวาลัย - สำโรงเกียรติ ซึ่งเป็นถนนทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร บริเวณชุมชน...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
‘กรมทางหลวง‘ แจงกรณีตีเส้นจราจร ’ซิกแซก’ หวังลดอุบัติเหตุบนท้องถนน‘กรมทางหลวง’ชี้แจงกรณีตีเส้นจราจรเป็นเส้นซิกแซกไปมาบนพื้นถนนที่จ.ศรีสะเกษ เป็นโครงการนำร่อง หวังยกระดับความปลอดภัยทางคนเดินข้าม เดินหน้าเก็บข้อมูลไปวิเคราะห์ประเมินผลต่อไป
อ่านเพิ่มเติม »
นำร่องถนนตีเส้นซิกแซก ยกระดับปลอดภัยกรมทางหลวง เผย “ถนนตีเส้นซิกแซก” ที่ จ.ศรีษะเกษ ถือเป็นโครงการนำร่อง 1 ในประเทศไทย เพื่อยกระดับความปลอดภัยทางคนเดินข้าม…
อ่านเพิ่มเติม »
ทางหลวงแจงปมตีเส้นถนนซิกแซก ใน จ.ศรีสะเกษ เพื่อเตือนลดความเร็วก่อนถึงทางข้าม ชี้เป็นรูปแบบสากล ใช้ทั้งในยุโรป สิงคโปร์
อ่านเพิ่มเติม »