วันที่ 9 ต.ค.66 ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการติดตามและวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้ำ ผ่านระบบ Video Conference ไปยังสำนักงานชลประทานที่ 1-17 และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมอุตุนิยมวิทยา สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักการระบายน้ำ (กรุงเทพมหานคร) และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) เป็นต้น เพื่อติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ แหล่งน้ำ และแม่น้ำสายหลักต่าง ๆ สำหรับเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการน้ำใ
ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวว่า ปัจจุบัน อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางทั่วประเทศ มีปริมาณน้ำในอ่างฯ รวมกันทั้งสิ้น 55,286 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 72% ของความจุอ่างฯ รวมกัน สามารถรับน้ำได้อีก 21,154 ล้าน ลบ.ม. เฉพาะลุ่มน้ำเจ้าพระยา 4 เขื่อนหลัก มีปริมาณน้ำรวมกันทั้งสิ้น 14,823 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 60% ของความจุอ่างฯ รวมกัน สามารถรับน้ำได้อีก 10,048 ล้าน ลบ.ม.
ทั้งนี้ กรมอุตุนิยมวิทยา คาดการณ์ว่า ร่องมรสุมเลื่อนลงมาพาดผ่านภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักบางแห่งในพื้นที่ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จึงได้สั่งการไปยังโครงการชลประทานทั่วประเทศให้เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด ควบคู่ไปกับการจัดจราจรน้ำ และตรวจสอบความมั่นคงของเขื่อน อาคาร อ่างเก็บน้ำ รวมทั้งเครื่องจักร เครื่องมือต่างๆ อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
กรมชลฯ ติดตั้งเครื่องสูบน้ำพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จับตาเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิดกรมชลฯ ติดตั้งเครื่องสูบน้ำพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จับตาเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ เร่งระบายน้ำแจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยาอาจได้รับผลกระทบกรมชลฯ แจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยา ฉบับที่ 4 เพิ่มระบายน้ำเขื่อนเจ้าพระยา จาก 1,500 เป็น 1,800 ลบ.ม./วินาที พื้นที่ท้ายเขื่อนเฝ้าระวังน้ำสูงขึ้นจากเดิมอีก 80 ซ.ม. อาจกระทบชุมชนบางพื้นที่
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ แจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยา น้ำล้นตลิ่ง หลังเขื่อนเจ้าพระยาระบายน้ำเพิ่ม จาก 1,500 เป็น 1,800 ลบ.ม./วินาทีชัยนาท - กรมชลฯ แจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยา ฉบับที่ 4 เพิ่มระบายน้ำเขื่อนเจ้าพระยา จาก 1,500 เป็น 1,800 ลบ.ม./วินาที พื้นที่ท้ายเขื่อนเฝ้าระวังน้ำสูงขึ้นจากเดิมอีก 80 ซ.ม. อาจกระทบชุมชนบางพื้นที่
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ เตือนพื้นที่ลุ่มต่ำ เตรียมรับมือน้ำเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มสูงขึ้นกรมชลฯ ออกประกาศแจ้งเตือน ฉบับที่ 4 พื้นที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา เตรียมรับมือน้ำล้นตลิ่งสูง 20-80 ซม. ระหว่างวันที่ 9-15 ต.ค.2566
อ่านเพิ่มเติม »
น้ำเหนือยังสูง!! กรมชลฯ บริหารน้ำเข้าระบบชลประทาน ลดผลกระทบริมน้ำเจ้าพระยาตามที่สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ประกาศเฝ้าระวังน้ำหลาก ดินถล่ม และน้ำล้นตลิ่ง จากการติดตามสถานการณ์น้ำในช่วงที่ผ่านมาร่องมรสุมทำให้เกิดฝนตกหนักสะสมทั้งประเทศไทย ส่งผลให้มีน้ำในลำน้ำเพิ่มมากขึ้น โดยคาดการณ์ในช่วงวันที่ 8-11 ตุลาคม 2566 จะมีฝนตกหนักถึงหนักมาก ทำให้น้ำล้นตลิ่งบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำริมลำน้ำ ในช่วงวันที่ 9-15 ตุลาคม 2566 โดยเฉพาะแม่น้ำเจ้าพระยา คาดการณ์จะมีน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ำ ซึ่งเขื่อนเจ้าพระยาต้องการระบายน้ำในอัตรามากกว่า 1,500 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ต่อวินาที นั
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ รุกวางแนวทางรับมือน้ำเหนือ พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกวันที่ 8 ต.ค.66 ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน พร้อมด้วย ดร.ธเนศร์ สมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา นายปกรณ์ สุตสุนทร ผู้เชี่ยวชาญด้านที่ปรึกษาอุทกวิทยา โดยมี นายชุติมันต์ สกุลพราหมณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานชลประทานที่ 11 ผู้อำนวยการโครงการฯ เจ้าเจ็ดบางยี่หน พระยาบรรลือ พระพิมล ภาษีเจริญ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมติดตามสถานการณ์น้ำ และแนวทางบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูน้ำหลากเป็นไปอย่างมีประสิทธ
อ่านเพิ่มเติม »