กยศ. เผยรายชื่อสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีอัตราการชำระหนี้ดีที่สุด 25 อันดับแรกของประเทศ โดยมหาวิทยาลัยพะเยามีอัตราการชำระหนี้ดีที่สุดเป็นอันดับแรก อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
มีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในการสร้างวินัยและปลูกฝังความรับผิดชอบให้กับนักเรียน นักศึกษาที่จะเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีมีคุณภาพ โดยกองทุนขอชื่นชมสถานศึกษาทุกแห่งที่ให้ความสำคัญต่อการดำเนินงานกองทุนและมีส่วนในการสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบให้แก่ผู้กู้ยืม จนทำให้กองทุนได้รับชำระเงินคืนกลับมาหมุนเวียนเพียงพอในการส่งต่อโอกาสทางการศึกษาให้แก่นักเรียน นักศึกษารุ่นน้อง ได้ให้โอกาสแก่นักเรียน นักศึกษาทั่วประเทศไปแล้วทั้งสิ้น 6,284,005 ราย เป็นเงินให้กู้ยืมกว่า 702,309 ล้านบาท ประกอบด้วย...
สำหรับผลการให้กู้ยืมในปีการศึกษา 2565 มีนักเรียน นักศึกษาได้รับอนุมัติให้กู้ยืมจำนวน 638,132 ราย รวมเป็นเงินให้กู้ยืมกว่า 38,879 ล้านบาท และสำหรับผลการรับชำระหนี้ในปีงบประมาณ 2565 กองทุนได้รับชำระเงินคืนแล้วกว่า 27,844 ล้านบาท ” ผู้จัดการกองทุนฯ กล่าวในที่สุด
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
กยศ. เปิดรายชื่อ 25 สถานศึกษา ชำระหนี้ดีที่สุดของประเทศ!กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) เผยรายชื่อสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีอัตราการชำระหนี้ดีที่สุด 25 อันดับแรกของประเทศ โดย มหาวิทยาลัยพะเยา มีอัตราการชำระหนี้ดีที่สุดเป็นอันด
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดลิสต์ 25 สถานศึกษา ชำระ‘หนี้ กยศ.’ดีที่สุดของประเทศคลิกอ่านที่นี่ มาตรการช่วยกยศ ค้ำประกัน หนี้กยศ กยศ ลดหย่อนหนี้ ดอกเบี้ยกยศ 25สถานศึกษา เปิดลิสต์ 25 สถานศึกษา ชำระ‘หนี้ กยศ.’ดีที่สุดของประเทศ
อ่านเพิ่มเติม »
กยศ. เผย 25 อันดับ มหา'ลัยชำระหนี้ดีเด่น ชี้ลูกหนี้แห่ชะลอผ่อนจ่าย รอพ.ร.บ.ฉบับใหม่กยศ.เปิด 25 มหาวิทยาลัยชำระหนี้ดี ชี้ลูกหนี้กยศ.ชะลอจ่ายเงินผ่อน หวังรอ พ.ร.บ.ฉบับใหม่
อ่านเพิ่มเติม »
“กยศ.”คาดสูญ 6 พันล้าน/ปี “ยกเลิกดอกเบี้ย-ค่าปรับ”นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)เปิดเผยกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบแก้กฎหมาย กยศ.โดยไม่คิดดอกเบี้ยและเบี้ยปรับว่า คณะกรรมการกองทุนฯจะต้องพิจารณาถึงผลกระทบต่อสถานะกองทุนและการบริหารจัดการเรื่องการปล่อยกู้ให้กับนักเรียนในระยะต่อไป แต่ที่กองทุนกังวลคือเป็นห่วงว่าผู้กู้จะไม่มีวินัยในการชำระหนี้หากไม่มีการคิดดอกเบี้ยและเบี้ยปรับ ผู้กู้จะชำระหนี้ในส่วนอื่นก่อนจะชำระหนี้ กยศ.
อ่านเพิ่มเติม »
กยศ. ห่วงยกเลิกดอกเบี้ย-เบี้ยปรับ เสียรายได้ราว 6 พันลบ. กระทบความสามารถปล่อยกู้ : อินโฟเควสท์นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) แสดงความกังวลหากในท้ายสุดแล้วร่าง พ.ร.บ.เงินกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (พ.ร.บ.กยศ.) จะต้องยกเลิกการคิดดอกเบี้ย และเบี้ยปรับ เนื่องจากจะมีผลต่อการดำเนินงานของ กยศ. ที่มีสถานะเป็นกองทุนหมุนเวียน ซึ่งปัจจุบัน กยศ. ไม่ได้ขอรับเงินงบประมาณเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกองทุนมาตั้งแต่ปี 2562 แล้ว โดยในแต่ละปี กยศ. จะมีรายได้จากดอกเบี้ยเงินกู้ ประมาณกว่า 3 พันล้านบาท และเบี้ยปรับอีกประมาณ 3 พันล้านบาท ดังนั้น หากจะยกเลิกการคิดดอกเบี้ยเงินกู้ และไม่มีเบี้ยปรับ อาจจะทำให้รายรับในส่วนนี้หายไปปีละ 6 พันล้านบาท ส่งผลกระทบต่อการปล่อยกู้ให้กับนักเรียน นักศึกษาในระยะต่อไปลดลงได้ จากเดิมที่เคยให้กู้ได้ปีละประมาณ 4 หมื่นล้านบาท สามารถช่วยเหลือได้ปีละกว่า 6 แสนคน ก็อาจจะเหลือเงินให้กู้ได้ 2-3 หมื่นล้านบาท ทำให้แต่ละมหาวิทยาลัย จะต้องไปปรับลดโควตาจำนวนนักศึกษาที่จะได้รับสิทธิการกู้เงิน กยศ.ลง หรือถ้าหาก กยศ.ต้องการจะปล่อยกู้ต่อปีในจำนวนเงินเท่าเดิม ก็จำเป็นต้องกลับไปขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ซึ่งก็คือเงินภาษีของประชาชนนั่นเอง “หากในกรณีกองทุนฯ ไม่มีการเก็บดอกเบี้ย และไม่มีเบี้ยปรับ เงินที่กองทุนฯ ปล่อยกู้ออกไป …
อ่านเพิ่มเติม »